คำอธิบายรายวิชา
……….เรียนรู้จากครูที่เป็นต้นแบบที่ดีและมีคุณลักษณะเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ให้สามารถดำรงตนให้เป็นผู้มีความรู้ในเนื้อหา ยึดมั่นผูกพันและศรัทธาในวิชาชีพ ปฏิบัติตนให้อยู่ในจรรยาบรรณวิชาชีพครู สร้างปฏิสัมพันธ์และร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อนร่วมวิชาชีพ เพื่อปรับปรุงการจักการเรียนรู้และการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องตลอดจนกลายเป็นต้นแบบที่ดีให้กับคนรุ่นหลังและเป็นแบบอย่างที่ดีน่าเชิดชู ามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายและความสำคัญของความเป็นครู
2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะในวิชาชีพครูเกี่ยวกับบทบาทเป็นที่เคารพและศรัทธาของผู้คน
จุดมุ่งหมายของรายวิชา
1. เพื่อให้นักศึกษ หน้าที่ ภาระงานของครู พัฒนาการของวิชาชีพครู
3. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะเกี่ยวกับเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู
จรรยาบรรณวิชาชีพครู และกฎหมายที่เกี่ยวกับครู
4.เพื่อให้นักศึกษาพึงตระหนักถึงหน้าที่และต้องเป็นผู้ที่ยึดมั่นในจรรยาบรรณ ในภายหน้าที่กำลังจะมา
5.เพื่อให้นักศึกษามีอิสระในการลงเนื้อหาข้อมูลและรู้จักทำสื่อให้ดงดูดผู้ชม ตลอดจนการนำไปใช้ในการประการอาชีพหารายได้ในโลกออนไลน์
วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงวิชา
4.เพื่อให้นักศึกษาพึงตระหนักถึงหน้าที่และต้องเป็นผู้ที่ยึดมั่นในจรรยาบรรณ ในภายหน้าที่กำลังจะมา
5.เพื่อให้นักศึกษามีอิสระในการลงเนื้อหาข้อมูลและรู้จักทำสื่อให้ดงดูดผู้ชม ตลอดจนการนำไปใช้ในการประการอาชีพหารายได้ในโลกออนไลน์
วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงวิชา
1.เพื่อปรับปรุงพัฒนาเนื้อหาสาระและกิจกรรมการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพและทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก
2.เพื่อปรับปรุงพัฒนาเนื้อหาสาระและกิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องกันเกณฑ์มาตรฐานของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
และมาตรฐานวิชาชีพของคุรุสภา
แผนการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความหมายและความสำคัญของครู
- ครู อาจารย์ และคำที่มีความหมายคล้ายคลึงกัน ครู กับ ความเป็นครู
- ความสำ
-คัญของครู
- บทบาทและหน้าที่ของครู
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 วิชาชีพครู
- วิชาชีพครู และองค์กรวิชาชีพครู
- คุณลักษณะของวิชาชีพทั่วไป
- คุณลักษณะของวิชาชีพครู
- องค์กรที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพครูไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ประวัติและพัฒนาการฝึกหัดครู
- ความเป็นมาของครู
- การฝึกหัดครู
- การพัฒนาครูในศตวรรษใหม่
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ลักษณะของครูที่ดี
- เอกลักษณ์ของครูที่ดี
- ทัศนะเกี่ยวกับลักษณะของครูที่ดี
- ลักษณะของครูที่ดีตามแนวพระพุทธศาสนา
- ลักษณะของครูที่ดีตามแนวพระพุทธศาสนา
- ลักษณะของครูที่ดีตามแนวพระราชดำรัส
- ลักษณะของครูที่ดีตามทัศนะของบุคคลต่างๆ
- ลักษณะของครูที่ดีจากผลงานการวิจัย
- ลักษณะครูที่ดีตามเกณฑ์มาตฐานของคุรุสภา
- ลักษณะครูที่ดีที่พึงประสงค์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 คุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณของครู
- คุณธรรม
-หาความหมายของคุณธรรม
- จริยะธรรม
-หาความหมายของจริยะธรรม
- หลักคุณธรรมและจริยะธรรมสำหรับครู
- จรรยาบรรณ
-หาความหมายของจรรยาบรรณ
- จรรยาบรรณของครู
- กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพครู
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างศรัทธาในวิชาชีพครู
- ความหมายของศรัทธา
- หลักธรรมในการศรัทธาในวิชาชีพครู
- อริยสัจ
4
- ฆราวาสธรรม
4
- พรมวิหาร
4
- พลธรรม
4
- อธิฐานกรรม
4
- ค่านิยม
-ความหมายและความสำคัญของค่านิยม
- ค่านิยมพื้นฐาน
5 ประการ
-การปลูกฝังค่านิยม
-ค่านิยมของครู
- การพัฒนาค่านิยมในวิชาชีพครู
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างศักยภาพครู
- ความหมายของศักยภาพ
- ความหมายของสมรรถภาพ
- คุฯภาพของครูไทย
- คุฯภาพของครูไทย
- การพัฒนาศักยภาพและสมรรถภาพความเป็นครู
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 บุคคลแห่งการเรียนรู้สู่ผู้นำทางวิชาการ
- ความหมายของการเรียนรู้
- ความหมายของผู้นำ
- ความหมายของวิชาการ
- ความหมายของวิชาการ
- แหล่งการเรียนรู้ที่เหมาะสม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 การส่งเสริมและยกระดับวิชาชีพครู
- การส่งเสริมและพัฒนาครู
- แนวทางการส่งเสริมและยกระดับวิชาชีพครู
- เกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู