เกริ่น

........สวัสดีคร้าา ท่านผู้ชมที่เข้ามาชม Blogger นี้นะค่ะ เป็นสื่อประกอบ วิชา ความเป็นครู ปีการศึกษา1/2558 เป็นการเรียนรู้ใหม่ๆ มีความสะดวกสบาย ทำให้หน้าสนในในการเรียนการสอน เป็นบทความเเละรูปภาพประกอบมากมายรวมทั้งวีดีโอและข้อมูสต่างๆ ที่หน้าสนในBloggerนี้ เรายังนำข้อมูลจากการึกษาค้นคว้าอย่างกว้างไกลมาตรวจสอบและเรียนรู้อย่างลึกซึ้งในห้องเรียนปกติหวังว่า Blogger นี้จะมีประโยชน์กับทุกๆท่านที่เข้ามาชมใน Blogger นี้ไม่มากก็น้อย

หน่วยการเรียนรุ้ที่ 1

ความหมายของคําวา “ครู”
     ครูคือใคร ?  คําวา “ครู” มีความหมายลึกซึ้งกวางขวางมาก แตถาดูจากรากศัพท ภาษาบาลีวา “ครุ” หรือ ภาษาสันสกฤตวา “คุรุ” นั้น  มีความหมายวา “ผูสั่งสอนศิษย หรือ ผูควรไดรับการเคารพ”  ไดมีผูใหความหมายของคําวา “ครู” ไวหลายอยาง เชน   “ ครู” คือ ผูทําหนาที่สอนและใหความรูแกศิษย เพื่อใหศิษยเกิดความรู ความกาวหนาในสาขาวิชานั้น ๆ  ยนต  ชุมจิต (2541: 29) ไดอธิบายคําวา “ครู” ดังนี้
1.   ครู  เปนผูนําทางศิษยไปสูคุณธรรมชั้นสูง
2.   ครู  คือ ผูอบรมสั่งสอนถายทอดวิชาความรูใหแกศิษย เปนผูมีความหนักแนน ควรแกการเคารพของ          ลูกศิษย
3.   ครู  คือผูประกอบอาชีพอยางหนึ่งที่ทําหนาที่สอน มักใชกับผูสอนในระดับต่ํา กวาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยหรือสถาบันอุดมศึกษา รังสรรค  แสงสุข อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยรามคําแหง (2550: 38) ไดใหความเห็นวา “ครู” คือ ผูให ผูเติมเต็ม และผูมีเมตตา ครู คือ ผูที่ใหความรูไมจํากัดทุกที่ทุกเมื่อ ครูตองเต็มไปดวยความรู และรูจัก ขวนขวายหาองคความรูใหม ๆ สะสมความดี มีบารมีมาก และครูที่ดีจะตองไมปดบัง ความรู ควรมีจิตและวิญญาณของความเปนครู ครู คือ ผูเติมเต็ม การที่ครูจะเปนผูเติมเต็มได ครูควรจะเปนผูแสวงหาความรู ตอง วิเคราะห วิจัย วิจารณ และมาบูรณาการความรูตาง ๆ เขาดวยกัน ครู คือ ผูที่มีเมตตา จะตองสอนเต็มที่โดยไมมีการขี้เกียจหรือปดบังไมใหความรู เต็มที่ ครูตองไมลําเอียง ไมเบียดเบียนศิษย
นหนังสือ พจนะ - สารานุกรมไทย  เปลื้อง  ณ นคร (2516: 89) ไดใหความหมายของคําวา “ครู” ไวดังนี้ 1. ผูมีความหนักแนน
2. ผูควรแกการเคารพของศิษย
3. ผูสั่งสอน คารเตอร
วี กูด (Carter V. Good. 1973: 586)  ไดใหความหมายของคําวา “ครู” (teacher) ไวดังนี้ คือ
1.  person employed in an official capacity for the purpose of guiding and directing the learning experience of pupils or students in an educational institution whether public or private.
2.  person who becomes of rich or unusual experiencing or education or both in given field is able to contribute to the growth or development of other person who comes to contact with him.
3.  person who has completed a professional curriculum in a teacher education institution and whose training has been officially recognized by the award of an appropriate teaching certificate.
4.  person who instructs the other.
จากคําภาษาอังกฤษขางบนนั้น จะเห็นไดวา ความหมายของคําวา “ครู” (Teacher) คือ
1.  ครู  คือ ผูที่มีความสามารถใหคําแนะนํา เพื่อใหเกิดประโยชนทางการเรียน สําหรับนักเรียน หรือ นักศึกษาในสถาบันการศึกษาตาง ๆ ทั้งของรัฐและเอกชน
2.  ครู  คือ ผูที่มีความรูประสบการณและมีการศึกษามากหรือดีเปนพิเศษ หรือมี ทั้งประสบการณและการศึกษาดีเปนพิเศษในสาขาใดสาขาหนึ่งที่สามารถชวยใหผูอื่นเกิด ความเจริญกาวหนาได
3.  ครู  คือ ผูที่เรียนสําเร็จหลักสูตรวิชาชีพจากสถาบันการฝกหัดครู และได ใบรับรองทางการสอนดวย 4. 4.  ครู  คือ ผูที่ทําหนาที่สอนใหความรูแกศิษย

นอกจากนี้ คําวา “ครู” ยังมีความหมายอื่น ๆ ไดอีก เชน
1.  “ครู คือ ปูชนียบุคคล” หมายถึง ครูที่เสียสละ เอาใจใสเพื่อความเจริญ ของศิษย ซึ่งเปนบุคคลที่ควรเคารพเทิดทูน
2.  “ครู คือ แมพิมพของชาติ” หมายถึง การเปนแบบอยางที่ดีของลูกศิษยที่จะ ปฏิบัติตัวตามอยางครู
3.  “ครู คือ ผูแจวเรือจาง” หมายถึง อาชีพครูเปนอาชีพที่ไมกอใหเกิดความ ร่ํารวย ครูตองมีความพอใจในความเปนอยูอยาง สงบเรียบรอย อยาหวั่นไหวตอลาภ ยศ ความ สะดวกสบาย โดยสรุปอาจกลาวไดวา ครู คือ ผูที่ทําหนาที่สอนใหศิษยเกิดความรู และมี คุณธรรม จริยธรรมที่ดี นําประโยชนใหแกสังคมไดในอนาคต

ความสําคญัของวชิาชีพครู
อาชีพทุกอาชีพย่อมมีความสําคญัต่อบุคคลและสังคมดว้ยกันทังสิน ยากทีจะกล่าวอา้งว่าอาชีพใดมี ความสําคญักว่ากัน แต่ถ้าเรามาพิจารณาเฉพาะวิชาชีพครูให้ลึกซึงแล้วจะเห็นว่า ผูเ้ป็นครูนันตอ้งรับ ภาระหนา้ทีต่อสังคมและชาติบา้นเมือง หากผเู้ป็นครูปฏิบตัิภาระทีตนเองไดร้ับบกพร่อง ผลกระทบก็จะตก ไปถึงความเสือมของสังคมและชาติบา้นเมือง เพือให้นกัศึกษาครูไดต้ระหนกัถึงความสําคญัของครู จึงขอ อญัเชิญพระราโชวาทของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ในพิธีพระราชทานปริญญา บตัรแก่ผสู้ ําเร็จการศึกษาจากวิทยาลยั ครู ณ.อาคารใหม่สวนอมั พร วนั พุธที 26พฤศจิกายน พ.ศ.2523 มา กล่าวในทีนี ดงัปรากฏขอ้ความตอนหนึงว่า
"...หนา้ทีของครูนันเป็นหน้าทีทีมีความสําคญัยิง เพราะเป็นการปลูกฝังความรู้ ความคิด และจิตใจ ให้แก่เยาวชน เพือทีจะไดเ้ติบโต ขึนเป็นผลเมืองทีดีและมีประสิทธิภาพของประเทศชาติในกาลขา้งหนา้ ผู้ เป็นครูจึงจดัไดว้่าเป็นผมู้ีบทบาทอย่างสาํคญั ในการสร้างสรรคบ์นัดาลอนาคตของชาติบา้นเมือง..."
และอีกตอนหนึงเป็นพระราโชวาทของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในพิธี พระราชทานปริญญาบตัรแก่ผูส้ ําเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยครู ณ อาคารใหม่สวนอมั พร วนั พุธที18 พฤษภาคม พ.ศ.2526 ความตอนหนึงว่า
"...อาชีพครูถึงว่าสําคญัอย่างยิง เพราะครูมีบทบาทสําคญัในการพฒันาประเทศให้เจริญมันคง และ ก่อนทีจะพัฒนาบ้านเมืองให้เจริญได้นัน จะต้องพัฒนาคน ซึงก็ได้แก่เยาวชนของชาติเสียก่อน              เพือให้เยาวชนเติบโตเป็นผูใ้หญ่ทีมีคุณค่าสมบูรณ์ทุกดา้น จึงจะสามารถช่วยกันสร้างความเจริญให้แก่ชาติ ต่อไปได ้..."
พระราโชวาทของทังสองพระองคด์งักล่าว สามารถสรุปความไดว้่า ผทู้ ีเป็นครูนันมีความสําคญั อย่างมาก เพราะครูเป็นผปู้ลูกฝังความรู้สึกความคิดและจิตใจและพฒันาเยาวชนให้มีความเจริญในทุกๆดา้น เพือใหเ้ยาวชนเหล่านันเป็นกําลงัสาํคญัในการพฒันาชาติบา้นเมืองต่อไป
จากพระราโชวาทของทังสองพระองค์ตามทีไดอ้ญัเชิญมานี เป็นเครืองยืนยนั ให้เห็นถึงความสําคญั ของ บุคคลทีเป็นครูทีมีต่อความเจริญของบุคคลและชาติบา้นเมืองเป็นอย่างยิง ทังนีเพราะ "ชาติบา้นเมืองจะมี ความเจริญมันคงอยู่ได ้ก็เพราะประชาชนในชาติไดร้ับการพฒันาอย่างถูกวธิี การพฒันาคนจะดาํเนินไปอย่าง ถูกตอ้งก็เพราะมีระบบการศึกษาทีดี และระบบการศึกษาจะดาํเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ ก็เพราะมีครูทีมี คุณภาพ"
สมญานามทเีน้นให้เห็นความสําคญัของครู
1. ครู คือ นักปฏิวตัิในสนามรบทางการศึกษา
            หมายความว่า ครูเป็นผูป้รับปรุงเปลียนแปลงการศึกษาของชาติบ้านเมืองให้เจริญรุ่งเรืองยิงขึน ภารกิจทีครูพึงกระทาํหรือจาํเป็นตอ้งกระทาํในฐานะนกัปฏิวตัิในสนามรบทางการศึกษา เช่น ร่วมกับคณะ ครูสาํหรับพฒันาการศึกษาในโรงเรียนทีตนปฏิบตัิงาน ร่วมกับคณะครูในโรงเรียนเพือช่วยกําหนดนโยบาย สาํหรับการดาํเนินงานเพือพฒันาการศึกษาของโรงเรียน ร่วมกับคณะครูเพือพฒันาหลกัสูตรสถานศึกษาให้ สนองความตอ้งการทอ้งถิน ร่วมกับคณะครูเพือปรับปรุงวิธีการสอนให้ทนัสมยั และร่วมคิดจดัสือการสอน ใหท้นัสมยั ประหยดัและเกิดประโยชน์สูงสุด
2. ครู คือ ผู้ใช้อาวุธลบัของชาติ
             หมายความว่า ครูเป็นผูค้อยอบรมสังสอนนกัเรียนนักศึกษาซึงเปรียบเสมือนอาวุธลบัของชาติให้ เป็นไปตามสังคมกําหนด ภารกิจทีครูพึงกระทาํในฐานะผใู้ชอ้าวุธลบัของชาติ เช่น ปลูกฝังให้ศิษยจ์งรักภกัดี ต่อชาติ ศาสนา พระมหากษตัริย ์ปลูกฝังให้ศิษยย์ึดมันในประชาธิปไตย ปลูกฝังให้ศิษยม์ีความซือสัตย ์ ปลูกฝังให้ศิษยเ์ขา้ใจสิทธิและหน้าที ปลูกฝังให้ศิษยเ์คารพสิทธิและหน้าทีของบุคคลอืน ปลูกฝังให้ศิษย์ บาํเพ็ญตนเป็นพลเมืองทีดี ปลูกฝังให้ศิษยเ์คารพกฎระเบียบของสังคม ปลูกฝังให้ศิษยม์ีนําใจนกักีฬา และ ปลูกฝังใหศ้ิษยร์ู้จกัสละประโยชน์ส่วนนอ้ยของตนเพือประโยชน์ส่วนใหญ่ของสังคม
3.ครู คือ ทหารเอกของชาติ
             หมายความว่า ครูเป็นบุคคลทีมีความเก่งมีความสามารถ เป็นผูน้าํของชาติบา้นเมืองในทุกๆด้าน ภารกิจทีครูพึงกระทาํหรือจาํเป็นตอ้งกระทาํในฐานะทหารเอกของชาติ เช่น เป็นผูน้าํดา้นระเบียบพิธีทาง ศาสนาและวฒันธรรมในชุมชมทอ้งถิน เป็นผเู้ผยแพร่หลกัธรรมคาํสอนแก่ชุมชน เป็นผูน้าํความเจริญงอก งามทางวฒันธรรมทีดีมาสู่ชุมชน เป็นผนู้าํทางความคิดแก่ชุมชนเพือพฒันาอาชีพ เป็นผใู้ห้คาํปรึกษาแก่ชุม ชม เป็นผนู้าํทางการเมืองการปกครอบในระบอบประชาธิปไตย เป็นผเู้ผยแพร่ขอ้มูลข่าวสารในชุมชน และ เป็นผปู้ระสานความเขา้ใจอนัดีระหว่างชุมชน
4.ครู คือ แม่พมิพ์ของชาติ
              หมายความว่า ครูเป็นแบบอย่างแก่เยาวชนและบุคคลทัวไปทังด้านความรู้และพฤติกรรมต่างๆ ภารกิจทีครูพึงกระทาํหรือจาํเป็นตอ้งกระทาํในฐานะแม่พิมพข์องชาติ เช่น เป็นแบบอย่างทีดีในการปฏิบตัิ ตามมารยาทไทย เป็นแบบอย่างทีดีแก่การปฏิบตัิตนเหมาะสมกับวฒันธรรมไทย เป็นแบบอย่างทีดีโดยนาํเอา      
หลกัธรรมในการปฏิบตัิใชใ้นชีวิตประจาํวนั เป็นแบบอย่างทีดีดา้นความซือสัตย ์เป็นแบบอย่างทีดีดา้นการ ประหยดัอดออม เป็นแบบอย่างทีดีดา้นการพฒันาตนเอง เป็นแบบอย่างทีดีในการแต่งกาย เป็นแบบอย่างทีดี ดา้นสุขอนามยั เป็นแบบอย่างทีดีดา้นการบาํเพ็ญตนเป็นพลเมืองดี เป็นแบบอย่างทีดีดา้นการใช้ภาษาไทย เป็นแบบอย่างทีดีดา้นความจงรักภกัดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษตัริย ์และเป็นแบบอย่างทีดีดา้นเป็นบุคคล ทีมีชีวติในครอบครัวอย่างผาสุก
5. ครู คือ กระจกเงาของศิษย์
               หมายความว่า ครูเป็นผคู้อยชีแนะ แนะนาํตกัเตือนศิษยใ์ห้ตังอยู่ในความดี ไม่กระทาํสิงทีนาํความ เดือนร้อนมาสู่ตวัเองหรือผอู้ืน ภารกิจทีครูพึงกระทาํหรือจาํเป็นตอ้งกระทาํในฐานะกระจกเงาของศิษย ์เช่น ตกัเตือนศิษยท์ีแต่งกายไม่ถูกตอ้ง ตกัเตือนศิษยท์ีมีพฤติกรรมไม่เหมาะสม ตกัเตือนศิษยม์ิให้ครบเพือนซึงมี พฤติกรรมทางเสือมเสีย ตกัเตือนศิษยท์ีมีพฤติกรรมก้าวร้าวต่อเพือน ตกัเตือนศิษยใ์ห้เลิกลกัขโมย ตกัเตือน ศิษยใ์ห้ตรงต่อเวลา ตกัเตือนศิษยท์ีมีนิสัยเกียจคร้าน ตกัเตือนศิษยใ์ห้ไม่เลียนแบบพฤติกรรมไม่ดีงานจาก บุคคลทีมีชือเสียง และตกัเตือนศิษยม์ิใหป้ฏิบตัิตามค่านิยมไม่ดีงามบางอย่าง
6.ครู คือ ดวงประทปีส่องทาง
               หมายความว่า ครูเป็นผูใ้ห้ความรู้ให้ปัญญาแก่เยาวชน คนทีมีปัญญาย่อมมองเห็นทุกสิงทุกอย่าง เหมือนมีดวงประทีปส่องทางให้กับตนเองตลอดเวลา ภารกิจทีครูพึงกระทาํหรือจาํเป็นตอ้งกระทาํในฐานะ ดวงประทีปส่องทาง เช่น ใหค้วามรู้อย่างถูกตอ้งตามหลกัวชิาการ สอนศิษยใ์หรู้้จกัพิจารณาสิงต่างๆ สอนให้ ศิษยล์ะเวน้ความชัวทังปวง สอนใหศ้ิษยป์ระพฤติแต่สิงดีงาม แนะนาํศิษยใ์ห้สํารวจว่าตนเองมีความสามารถ ดา้นใด แนะแนวอาชีพทีตรงกับความถนดัของศิษย ์ให้ความรู้ทนัสมยัแก่ศิษยเ์พือให้ศิษยเ์ป็นคนทนัโลกทนั เหตุการณ์ แนะนาํแหล่งวทิยาการแก่ศิษย ์และแนะนาํสิงทีเป็นบุญกุศลแก่ศิษย์
7.ครู คือ ผู้สร้างโลก
               หมายความว่า ครูเป็นผูพ้ฒันาคนให้มีความรู้ความสามารถเพือให้คนเหล่านันไปพฒันาสังคม ประชาชาติ ภารกิจทีครูพึงกระทาํหรือจาํเป็นตอ้งกระทาํในฐานะผูส้ร้างโลก เช่น สอนให้ศิษยเ์ป็นนกัคิด สอนให้ศิษยม์ีจิตใจทีเขม้แข็ง สอนให้ศิษยข์ยนั สอนให้ศิษยส์ร้างครอบครัวทีมันคง สอนให้ศิษยใ์ชค้วามรู้ ความสามารถใหเ้ป็นประโยชน์ต่อตนเองและสังคม สอนใหศ้ิษยส์ามคัคี และสอนให้ศิษยพ์ฒันาตนเองอย่าง ต่อเนือง
8.ครู คือ ผู้กุมความเป็นความตายของชาติไว้ในกาํมือ
               หมายความว่า ชาติจะเจริญก้าวหนา้หรือลม้สลายก็เพราะครู ภารกิจทีครูพึงกระทาํหรือจาํเป็นตอ้ง กระทาํในฐานะผูกุ้มความเป็นความตายของชาติไวใ้นกํามือ เช่น ไม่สอนวิชาทีไม่ถูกตอ้งตามหลกัวิชาแก่ ศิษย ์ไม่แนะนาํสิงผิดให้นกัเรียน ไม่ยุยงให้ศิษยส์ร้างความแตกร้าวในสังคม ไม่แสดงความคิดเห็นทีเป็น มิจฉาทฏัฐิให้ศิษยใ์นทีสาธารณะ ไม่สอนศิษยเ์พียงให้พน้หน้าทีประจาํวนั ไม่เป็นผูก้่อความแตกร้าวทาง ความคิดใหแ้ก่คนในชาติ และไม่อาศยัชือเสียงหรือบารมีของตนเพือสร้างความสับสนใหก้ับสังคม
9. ครู คือ ปูชนียบุคคล
                หมายความว่า ครูเป็นบุคคลทีมีความน่าเคารพบูชาของศิษยแ์ละบุคคลทัวไป ภารกิจทีครูพึงกระทาํ หรือจาํเป็นตอ้งกระทาํในฐานะปูชนียบุคคล เช่น ลดละเลิกพฤติกรรมทีเป็นความชัวทางกายทังปวง ฝึกฝน ให้ตนมีวจีสุจริต ฝึกให้ตนมีมโนสุจริต พฒันาตนเองอย่างต่อเนืองทังกายและใจ และพยายามสังสมวิชา ความรู้ทังทางโลกและทางธรรม
10. ครู คือ วศิวกรสังคม
                หมายความว่า ครูเป็นนกัสร้างให้เป็นไปตามทิศทางทีสังคมตอ้งการ เนืองจากปัจจุบนัสังคมยก ย่องให้ครูเป็นวิศวกรทางสังคม เพราะครูทาํหนา้ทีเสมือนวิศวกรทางดา้นวิทยาศาสตร์ประยุกต์ งานของครู ในฐานะเป็นวิศวกรสังคม มีดงันี ครูทาํงานวิจยั ครูทาํงานพฒันา ครูทาํงานออกแบบ ครูทาํงานผลิต ครู ทาํงานก่อนสร้าง ครูทาํงานควบคุมโรงเรียน ครูทาํงานทดสอบ ครูทาํงานการขายและการตลาด ครูทาํงาน บริหาร ครูทาํงานทีปรึกษา และครูทาํงานการศึกษาโดยตรง
                         
จากทีกล่าวมาข้างต้นนันแล้วไม่ว่าครูจะมีความรู้ความสามารถหรือความถนัดแตกต่างกัน เพียงใด แต่บทบาทของครูโดยส่วนรวมแล้ว จะยงัอยู่ในลกัษณะเดียวกัน กล่าวคือ นอกจากครูจะตอ้งรับ บทบาทเป็นผสู้อนคนให้มีความรู้ความสามารถทางดา้นวิชาการต่างๆ แลว้ ครูยงัจะตอ้งรับบทบาทในการ พฒันาประเทศชาติในดา้นต่างๆอีก เช่นการพฒันาสังคม การเมือง เศรษฐกิจ ศาสนาและวฒันธรรม เป็นตน้ ดงันัน ครูจึงตอ้งรับบทหนกัทังในอดีตและปัจจุบนั และเป็นบทบาทในการสร้างสังคมในดา้นต่างๆให้มี ความเจริญก้าวหนา้ จนกระทังในปัจจุบนันีไดม้ีผใู้ห้สมญานามแก่ครูว่าเป็น วิศวกรสังคม ซึงหมายถึง ช่างผู้ ชาํนาญในการสร้างสังคมนันคือ หากครูให้การศึกษาแก่สมาชิกแก่สังคมอย่างไร สังคมก็จะเป็นอย่างนัน เช่น ใหก้ารศึกษาเรืองระบอบประชาธิปไตยอย่างถูกตอ้ง สังคมก็จะเป็นประชาธิปไตย หากครูให้การศึกษา ในระบอบอืนสังคมก็จะเป็นเช่นนันดว้ย


การศึกษาเป็นกระบวนการที่ทำให้มนุษ์สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเองให้สามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข มีการเกื้อหนุนการพัฒนาประเทศได้อย่างเหมาะสม สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในทุกๆ ด้าน  และบุคคลที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการจัดการศึกษาดังกล่าวก็คือครูนั่นเอง เพราะครูเป็นผู้ที่มีหน้าที่สร้างประสบการณ์การเรียนรู้ และการพัฒนาโดยรอบให้เกิดในตัวผู้เรียน เพื่อให้มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์ในเชิงวิชาการ นำไปสู่การมีสภาพชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น รวมทั้งการดำรงตนเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม  ดังนั้นการจะพัฒนาการศึกษาให้มีคุณภาพจึงย่อมต้องพึ่งพาอาศัยครูที่มีคุณภาพ ครูที่มีความเป็นครู

                คำว่า ครู หรือคุรุ ในภาษาไทย มาจากคำว่า คุรุธาตุ หรือ ครธาตุ  ซึ่งแปลความได้ว่าเป็นผู้ที่หนักในวิชาความรู้ ในคุณธรรม และในภารกิจการงาน รวมทั้งการทำหน้าที่ยกย่องเชิดชูศิษย์ของตนเอง จากผู้ที่ไม่รู้ให้กลายเป็นผู้รู้ ผู้ที่ไม่มีความสามารถให้มีความสามารถ ผู้ที่ไม่มีความคิดให้มีความคิด ผู้ที่มีความประพฤติไม่เหมาะสมให้มีความเหมาะสม และจากผู้ที่ไม่พึงปรารถนาให้เป็นผู้ที่พึงปรารถนา ซึ่งตามนัยของความเป็นครูในภาษาไทยจึงเป็นผู้ที่ต้องทำงานหนักจริงๆ  ส่วนในภาษาอังกฤษมาจากคำว่า  TEACHER  ก็เช่นเดียวกัน กล่าวคือ

T- Teach   E– Example  A–Ability  C- Characteristic  H– Health   E- Enthusiasm   R - Responsibility

      1. TEACH (การสอน)

                คุณลักษณะประการแรกของความเป็นครูก็คือ ต้องสอนได้ สอนเพื่อให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้ในตนเอง มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในทางที่ดี  โดยการ :

                1. ฝึกฝนแนะนำให้เป็นคนดี

                2. สอนให้เข้าใจแจ่มแจ้ง

                3. สอนศิลปวิทยาให้หมดสิ้น

                4. ยกย่องให้ปรากฏในหมู่คณะ

                5. สร้างเครื่องคุ้มกันในสารทิศ (สอนให้รู้จักเลี้ยงตัว รักษาตนในอันที่จะดำเนินชีวิตต่อไปด้วยดี)  และที่สำคัญคือ

                6. ต้องสอนให้เกิดความงอกงามทางสติปัญญา มีความคิด และสร้างสรรค์

                อย่างไรก็ตามการสอนของครูแต่ละคนนั้นขึ้นกับทักษะและลักษณะของตนเอง (Teaching skill and style) เป็นการนำเทคนิควิธีและทักษะหลาย ๆ ด้านมาผสมผสานให้เหมาะสมสอดคล้องกัน  จึงต้องใช้เทคนิคและทักษะหลายด้านร่วมกับประสบการณ์เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ และต้องมุ่งจัดสรรการเรียนรู้นั้นไปในทิศทางที่ดีและมีคุณธรรมในสังคม บทบาทการสอนของครูจึงต้องดำเนินการ  โดย

                1. สอนเนื้อหาวิชาการตามหลักสูตรรายวิชาที่ได้รับมอบหมาย  โดยการมีการเตรียมการสอนอย่างเป็นขั้นเป็นตอน ตั้งแต่การทำ Course Syllabus  แผนจัดการเรียนรู้หรือแผนการสอนรายชั่วโมง  การดำเนินการสอน และการประเมินผล  มีการปรับปรุงพัฒนา และสร้างผลงานทางวิชาการอยู่เสมอ

                2. สอนการปรับตัวให้เหมาะสมในสังคม

                3. สอนให้ให้เจริญเติบโต มีความคิด มีเหตุผล และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ตามแผนที่ได้กำหนดหรือเตรียมการไว้เป็นอย่างดี

                2. EXAMPLE (เป็นตัวอย่าง)

                ผู้เรียนโดยทั่วไปนั้นจะ “เรียน” และ “เลียน” จากตัวครู   การทำตัวเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างจึงเป็นสิ่งที่มีอิทธิพลมากกว่าการบอกกล่าวเฉยๆ เพราะการแสดงต้นแบบให้เห็นด้วยสายตานั้น เป็นภาพที่มองเห็นชัดเจนและง่ายต่อการลอกเลียนยิ่งกว่าการรับฟังและบอกเล่าอย่างปกติ ถ้าต้องการให้ผู้เรียนเป็นอะไร จงพยายามแสดงออกเช่นนั้นทั้งในการดำเนินชีวิตและในการสนทนา

                การวางตัวของครูเป็นตัวอย่างหรือเยี่ยงอย่างให้แก่ผู้เรียนได้มาก แม้ว่าผู้เรียนจะมีความคิด ความอ่านของตนเองที่ไม่ต้องการเลียนแบบผู้ใหญ่ทุกประการเหมือนเด็กเล็ก แต่ครูก็ คือครูที่ผู้เรียนพิจารณาว่ามีความหมายสำคัญอยู่มาก โดยเขาจะสนใจและเฝ้าสังเกตนับตั้งแต่การแต่งกาย ไปจนถึงการประพฤติปฏิบัติ จะเป็นประสบการณ์ให้เขาได้พิจารณา นอกจากนี้การรู้ตัวเองของครู การแนะนำให้ผู้เรียนประพฤติให้เหมาะสม ก็เป็นสิ่งจำเป็นที่ครู (ตัวเรา) ต้องประพฤติและปฏิบัติตนให้เหมาะสมด้วย

                3. ABILITY (ความสามารถ)

                คำว่า “ความสามารถ” หมายถึงกำลังที่มีจริงในการแสดงหรือในการกระทำอย่างใดอย่างหนึ่ง ไม่ว่าการกระทำนั้นจะเป็นการกระทำทางกายหรือทางจิตใจ และไม่ว่ากำลังนั้นจะได้มาจากการฝึกฝนอบรมหรือไม่ก็ตาม แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท  คือ ความสามารถทั่วไป (general ability) และความสามารถพิเศษ (specific ability) นอกจากนั้นครูจะต้องทราบถึงการเปลี่ยนแปลงใหม่หรือนวตกรรมทางการศึกษา (inovation in teaching) เพื่อจะช่วยปรับปรุงและพัฒนากระบวนการเรียนรู้หรือการเรียนการสอนให้ดียิ่งขึ้นไป การเรียนการสอนก็เช่นเดียวกับการวินิจฉัย การรักษาโรคทางการแพทย์หรือจะสมมติเป็นการปรุงอาหารในครัวก็ได้ ที่จะต้องแสดงฝีมืออย่างเต็มที่ให้ได้อาหารอร่อยที่สุด  ดังนั้นครูจึงต้องประเมินตัวเอง ประเมินการสอน และปรับปรุงข้อบกพร่องของสิ่งที่ตนสอนไปเสมอ (diagnosis and treatment of course defects)  เพื่อให้ผลการสอนดีที่สุด

                นอกจากครูจะต้องเข้าใจบทบาทความเป็นครูของตนเองแล้ว (teacher’s role) ครูควรจะมีความสามารถดังนี้

                  -   จิตวิทยาการเรียนรู้ (psychology of learning)

                  -   การกำหนดวัตถุประสงค์ของการสอนอย่างชัดเจน (specific of objectives)

                  -   การวิเคราะห์เนื้อหา (content analysis)

                  -   การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน (learning activities)

                  -   การนำโสตทัศนูปกรณ์มาช่วยสอน (the application of audiovisual aids)

                  -   การจัดทำแผนการสอน (course syllabus and Lesson planning)

                  -   การประเมินการเรียนการสอน (assessment)



                4. CHARACTERISTIC (คุณสมบัติ)

                ความหมายที่ใช้โดยทั่วๆไป หมายถึง คุณภาพหรือคุณสมบัติที่สังเกตได้ชัดเจนในตัวบุคคล ทำให้ทราบได้ว่าบุคคลนั้นแตกต่างไปจากบุคคลอื่นๆ ในความหมายเฉพาะ อุปนิสัยหมายถึง ผลรวมของนิสัยต่างๆ ที่บุคคลมีอยู่ หรือผลรวมของลักษณะของพฤติกรรมต่างๆ ของบุคคล  ตามความเข้าใจของคนทั่วไป คำว่าอุปนิสัยนี้แฝงความหมายของคุณธรรมจรรยาในตัวด้วย เช่น เราพูดว่าเขาผู้นั้นมีอุปนิสัยดี เป็นต้น ในคุณสมบัติของความเป็นครู สิ่งสำคัญคือ ครูจะต้องมีเจตคติที่ดีต่อผู้เรียน  ต่อวิชาที่สอน และต่องานที่ทำ



                5. HEALTH (สุขภาพดี)

                การมีสุขภาพดี หมายถึงการไม่มีโรค รวมถึงมีสภาพทางร่างกายและจิตใจที่สมบูรณ์แข็งแรงพอที่จะดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างปกติสุข  ผู้ที่เป็นครูนั้นต้องทำงานหนัก ดังนั้นสุขภาพทางด้านร่างกายจึงเป็นสิ่งสำคัญ แต่ที่สำคัญกว่าคือสุขภาพจิต คงเคยได้ยินคำว่า “จิตเป็นนาย กายเป็นบ่าว” ดังนั้นครูจึงจำเป็นต้องมีสุขภาพจิตที่ดีด้วย จิตดีนั้นไม่เพียงแต่ไม่เป็นโรคจิตโรคประสาทเท่านั้น แต่เป็นผู้ที่มีสมรรถภาพ มีการงานและมีชีวิตที่เป็นสุขทำประโยชน์ต่อสังคมด้วยความพอใจ สามารถปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม รวมทั้งต่อบุคคลที่เราอยู่ร่วมและต่อสังคมที่เราเกี่ยวข้อง โดยไม่ก่อความเดือดร้อนให้ทั้งต่อตนเองและผู้อื่น



                6. ENTHUSIASM (ความกระตือรือล้น)

                ความกระตือรือล้นของครูนั้น อาจจะเป็นการใฝ่หาความรู้ใส่ตน เพราะจะต้องถือว่าการใฝ่หาความรู้เพื่อปรับปรุงการเรียนการสอนนั้นเป็นกระบวนการอย่างหนึ่งของการพัฒนาตน (Learning to teach is a process of self-development)  การเพิ่มพูนความรู้มีหลายรูปแบบ เช่น การประชุมสัมมนา อบรมระยะสั้น  จะทำให้ครูที่ขาดความรู้ในเรื่องที่ตนสอนได้มีความรู้เพิ่มเติมและทำให้มีความมั่นใจในการสอนมากขึ้น  ความกระตือรือล้นของครูนั้น ไม่ใช่มุ่งเน้นเฉพาะการพัฒนาตัวครูเท่านั้น แต่จะต้องมีความกระตือรือล้นในการพัฒนาการเรียนการสอนด้วย



                7. RESPONSIBILITY (ความรับผิดชอบ)

                ครูที่ดีจะต้องมีความรับผิดชอบในหน้าที่ของตนตามที่ได้กล่าวมาแล้วเป็นอย่างดี รวมทั้งยอมรับผลแห่งการกระทำนั้นๆ ไม่ว่าจะดีหรือไม่ก็ตาม และพร้อมที่จะปรับปรุงแก้ไข

การสอนของครู

                สำหรับการสอนของครูในการช่วยเหลือผู้เรียนนั้น คำถามต่อไปนี้จะบ่งชี้ว่าครูท่านนั้นเป็นครูที่ดีหรือไม่ รวมทั้งตัวเราเองที่เป็นครูด้วย ซึ่งสามารถตรวจสอบได้ด้วยตัวเอง ดังนี้

                การสอนที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ฝึกหัดเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self  learning)

                1.  ให้ผู้เรียนได้ตอบคำถามเกี่ยวกับวิชาการที่เรียนหรือไม่ ?

                2.  ให้ผู้เรียนค้นคว้าเพื่อตอบคำถามหรือเพื่อแก้ไขปัญหาเพิ่มเติมหรือไม่ ?

                3.  จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้รู้จักคิด และฝึกทักษะในการทำงานหรือไม่ ?

                การประเมินและการบอกให้ผู้เรียนทราบถึงผลงานที่ทำ (Feed  back)

                4.  บอกผู้เรียนหรือไม่ว่าเมื่อมอบหมายงานให้ทำแล้ว เขาทำงานเป็นอย่างไร?

                5.  อธิบายให้ผู้เรียนทราบหรือไม่ถึงข้อบกพร่องต่างๆ ที่ทำ ?

                6.  อธิบายให้ผู้เรียนทราบหรือไม่ ว่าทำอย่างไรจึงจะทำได้ดีกว่านี้ ?

                การให้ความกระจ่างชัดในการสอน (Clearity)

                7.  สังเกตหรือไม่ว่าผู้เรียนทุกคนสามารถได้ยินและมองเห็นชัดเจน ?

                8.  ใช้คำพูดง่ายๆ เหมาะสมกับวัยของผู้เรียนหรือไม่ ?

 

                9.  ใช้อุปกรณ์การสอนเพื่อช่วยให้การเรียนการสอนมีความหมายยิ่งขึ้นหรือไม่ ?

                      ซึ่งอุปกรณ์การสอนดังกล่าว อาจประกอบด้วย

                              - รูปภาพ ภาพถ่าย ภาพวาด                               - ภาพโปสเตอร์

                              - แผนภูมิ แผนผัง แผนที่                    - ภาพหลัก

                              - ภาพติดกระดานผ้าสำลี                     - ภาพกระจกฉาย

                              - ภาพยนตร์                                           - ภาพชุด

                              - วัตถุของจริง                                        - วัตถุจำลอง

                              - นิทรรศการ                                          - เครื่องบันทึกเสียง     เป็นต้น

             ทำให้การสอนมีความหมายมากขึ้น (Making your meaningful)  

                10.  ได้สอนโดยเชื่อมโยงบทเรียนที่สอนกับสภาพที่ผู้เรียนเป็นอยู่หรือไม่ ?

                11. ได้ยกตัวอย่างเพื่อให้ผู้เรียนมองเห็นภาพพจน์กระจ่างขึ้นหรือไม่ ?

                12.  ได้เชื่อมโยงสิ่งที่ครูสอนกับงานที่ผู้เรียนจะต้องกระทำหรือไม่ ?

                13.  ได้สรุปเพื่อให้ผู้ได้แนวคิดที่ดีอีกครั้งหรือไม่ ?

                จะต้องแน่ใจว่าผู้เรียนเรียนรู้เรื่องสิ่งที่สอน (Ensuring mastery)

                14.  ได้ตรวจสอบหรือไม่ ? ว่าผู้เรียนทุกคนเข้าใจในทุกๆเรื่อง ทุกๆจุดที่สอน ?

                15.  เคยตรวจสอบหรือไม่ว่าผู้เรียนแต่ละคนสามารถฝึกทักษะได้หรือไม่ ?

                จะต้องเข้าใจถึงความแตกต่างของผู้เรียนแต่ละคน (Individual differences)

                16. ยินยอมให้ผู้เรียนแต่ละคนได้ทำงานตามความสามารถและใช้เวลาที่ไม่เท่ากันหรือไม่ ?

                17.  เคยกระตุ้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยวิธีแตกต่างกันออกไปหรือไม่ ?

                18.  เคยใช้วิธีสอนหลาย ๆ วิธีหรือไม่ ซึ่งวิธีสอนมีหลายวิธี ดังนี้

-             อธิบายจากหนังสือแล้วให้ผู้เรียนไปอ่านเองนอกเวลา

-             อธิบายจากหนังสือแล้วให้อ่านหนังสือพร้อมกัน

-             วิธีประชุมกลุ่มให้ผู้เรียนออกความคิดเห็นอภิปรายร่วมกัน

-             การแสดงหรือเล่นละครสั้นๆ

-             สอนจากเหตุการณ์หรือประสบการณ์

-             ใช้กรณีศึกษา

-             ใช้วิธี constructivism

-             ทำรายงานค้นคว้าเป็นรายบุคคล

-             ทำรายงานค้นคว้าเป็นกลุ่ม

-             วิธีสาธิต

-             ให้มีการฝึกปฏิบัติ

-             ให้ทำโครงการหรือโครงงาน

-             การทัศนศึกษา

-             จัดหาประสบการณ์ตรง (first hand experience) ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียนให้สอดคล้องกับเนื้อหาที่สอน

-    ใช้วิธีการปฏิบัติให้เกิดกระบวนการทางปัญญา    เป็นต้น

                ให้การดูแลผู้เรียนทุกคน (Caring)

                19.  เคยให้ความมั่นใจแก่ผู้เรียนหรือไม่ว่าครูรักผู้เรียนทุกคนไม่ว่าจะทำดีหรือไม่?

                20. แสดงให้ผู้เรียนเห็นหรือไม่ว่าสนใจและเตรียมสอนอย่างดีตลอดช่วงเวลาที่สอน?

                21.  เคยฟังความคิดเห็น หรือให้ผู้เรียนวิจารณ์การสอนบ้างหรือไม่?

                การเป็นครูมืออาชีพใช่ว่าจะเป็นกันได้ง่าย ๆ เพราะงานครูเป็นงานที่ยิ่งใหญ่และหนัก ๆ กว่างานใด ๆ เป็นงานสร้างและพัฒนาคน และองค์ประกอบแรกที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาคือ สติปัญญาซึ่งต้องยอมรับความเป็นจริงว่า โดยรวมผู้เรียนส่วนใหญ่มิได้มีระดับสิติปัญญาดีเลิศ  ดังนั้นการจะพัฒนาพวกเขาจึงต้องอาศัยครู อาศัยพวกเรา-ท่าน เป็นหลัก  เพราะอย่างน้อยก็มีส่วนแบ่งประมาณ 30-40 %  ที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ของพวกเขา จึงใคร่ขอให้ทุกท่านที่เป็นครูจงได้ตระหนักถึงความสำคัญของการเป็นครู ตามข้อเขียนที่ได้กล่าวถึงทั้งหมด เพื่อนำมาประกอบการพิจารณาปรับปรุงและพัฒนาตัวของท่านเอง



การสอนที่มีคูณภาพ

    การเรียนรู้เกิดจากการมีปฏิสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่างๆในกระบวนการเรียนการสอน และในองค์ประกอบนี้ครู-อาจารย์ผู้สอนและพฤติกรรมการสอนที่แสดงออกมา จะเป็นส่วนหนึ่งที่มีความสำคัญในลำดับต้นๆ ที่ส่งผลต่อคุณภาพหรือความสำเร็จในการเรียนรู้ของนักศึกษา ท่านเป็นครู-อาจารย์ซึ่งถือว่าเป็นส่วนสำคัญของความสำเร็จนั้น ได้เคยตรวจสอบพฤติกรรมการสอนของตัวท่านเองบ้างหรือไม่ว่ามีคุณภาพอยู่ในระดับใด ? คุณภาพในที่นี้หมายถึงคุณภาพตามเกณฑ์ที่ผู้คนทั่วไปพอใจหรือตามที่หน่วยงานที่น่าเชื่อถือเป็นผู้กำหนดขึ้นมา ซึ่งเมื่อพิจารณาจากพฤติกรรมการเรียนการสอน แบ่งออกเป็น  5  ระดับ คือ

                สอนตรง  หมายถึง การใช้วิธีการสอนที่ก่อให้เกิดการพัฒนาด้านสติปัญญาขั้นต้น เป็นการพัฒนาทางสมองในการเก็บรักษาเรื่องราว ข้อมูล เท็จจริง เน้นความสามารถในการจำความรู้ต่างๆ เช่น การจำกฎ หลักเกณฑ์ ทฤษฎีต่างๆ ได้ หากพิจารณาการมีส่วนร่วมของนักศึกษาในการเรียนการสอนแล้วอยู่ในระดับ 0 -20%

                สอนอธิบายขยายความ   หมายถึง การสอนให้เกิดความเข้าใจในเนื้อหา ความรู้ สามารถอธิบาย แปลความหรือขยายความด้วยคำพูดของตนเองได้  การสอนระดับนี้เป็นการเน้นพัฒนาการ ความสามารถในการสื่อความหมายระหว่างตนเองกับผู้อื่น หากพิจารณาด้านการมีส่วนร่วมของนักศึกษาในการดำเนินการเรียนการสอนแล้ว อยู่ในระดับ 21-40%

                สอนคิด  หมายถึง การพัฒนาความสามารถในการวิเคราะห์ แยกแยะเนื้อหาความรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่ง เป็นส่วนประกอบย่อยๆ หรือความรู้ด้านต่างๆ พร้อมทั้งสามารถเปรียบเทียบความแตกต่าง คล้ายคลึงกันของส่วนประกอบย่อยๆ หรือความรู้ด้านต่างๆ เหล่านั้นด้วย หากพิจารณาด้านการมีส่วนร่วมของนักศึกษาในการดำเนินการเรียนการสอนแล้วอยู่ในระดับ 41-60%

                สอนสร้าง หมายถึง  การพัฒนาความสามารถในการบอกความสัมพันธ์เชิงเหตุผลของส่วนประกอบย่อย ๆ หรือความรู้หลาย ๆ ด้าน และสามารถนำไปอธิบายให้ข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหา หรือนำไปใช้ได้  หากพิจารณาด้านการมีส่วนร่วมของนักศึกษาในการดำเนินการเรียนการสอนแล้ว อยู่ในระดับ 61-80%

                สอนค้นพบ  หมายถึง  การพัฒนาความสามารถในการสังเคราะห์ หรือการรวมส่วนประกอบย่อย ๆ ของความรู้หลาย ๆ เรื่องให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันซึ่งเป็นการบูรณาการความรู้เพื่อสร้างสิ่งใหม่ ๆ หรือสามารถแก้ปัญหาใหม่ๆ ที่ต้องใช้ความสามารถในการคิดเป็นอย่างมาก เป็นการคิดอย่างมีวิจารณญาณและสามารถประเมินค่าสิ่งต่างๆ ได้  หากพิจารณาด้านการมีส่วนร่วมของนักศึกษาในการดำเนะเนินการเรียนการสอนแล้วอยู่ในระดับ 81-100%

                        จากการสำรวจสภาพการเรียนการสอน และการประเมินผลการใช้หลักสูตรพบว่า ครู-อาจารย์ทั่วไป ส่วนใหญ่ยังคงจัดการเรียนการสอนโดยเป็นผู้อธิบาย บอกจด หรือเขียนกระดานดำ และเน้นเนื้อหาสาระมากกว่ากระบวนการ ภายใต้สภาพดังกล่าวจะไม่มีการแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน ไม่เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้สร้างองค์ความรู้ใหม่ และก่อให้เกิดปัญหาที่ไม่สามารถคิดดัดแปลงทฤษฎีไปสู่การปฏิบัติ หรือประยุกติให้เหมาะสมกับสถานการณ์จริงได้ เพราะเป็นวิธีการสอนที่ไม่สามารถตอบสนองศักยภาพและยังไม่สามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของนักศึกษาให้เป็นไปตามที่หลักสูตรคาดหวัง กล่าวได้ว่ายังมีปัญหาทั้งในเรื่องของการจัดการเรียนการสอนและคุณภาพของผู้เรียน ดังนั้นเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในตัวนักศึกษาเพื่อให้พวกเขามีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ครู-อาจารย์จึงต้องมีการทบทวนรูปแบบการสอนใหม่ ซึ่งจากการวิจัยทั้งในและต่างประเทศได้เสนอว่า รูปแบบการสอนที่ดีนั้นควรเป็นในลักษณะของการสอนแบบบูรณาการ เน้นให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วม มีกิจกรรม มีการปฏิบัติ หรือเป็นศูนย์กลางของการเรียนการสอน



การสอนที่เน้นให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนการสอน

                การเรียนรู้ที่แท้จริงเกิดจากการที่ผู้เรียนได้มีปฎิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัว ดังนั้นการจัดการเรียนการสอนจึงต้องจัดให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม หรือมีการปฏิบัติให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ เป็นการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง  ผู้สอนจะมีบทบาทน้อยลง ผู้เรียนจะมีโอกาสได้พัฒนาทักษะการคิดในระดับสูง รู้จักวางแผนการทำงาน ทำงานเป็น  รู้จักตัดสินใจแก้ปัญหาได้ มีการทำงานร่วมกับผู้อื่น และได้แสดงออกซึ่งคุณลักษณะที่พึงประสงค์  ต่อไปนี้เป็นการเปรียบเทียบให้เห็นวิธีการสอน (บางวิธี) ที่มีครูเป็นศูนย์กลาง และผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ซึ่งตามนัยดังได้กล่าวมา ท่านผู้สอนควรเลือกวิธีหลังและ/หรือบูรณาการหลายๆ วิธีผสมกัน โดยให้สอดคล้องและเหมาะสมในการเสริมสร้างการเรียนรู้ของผู้เรียน


คุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพครู
 วิชาชีพครูไดรับการยกยองและจัดเปนวิชาชีพชั้นสูงที่มีความจําเปนตอสังคม  เปนอาชีพที่ ชวยสรางสรรคจรรโลงใหสังคมเปนไปในทางที่ปรารถนา  ฉะนั้น  กลุมผูประกอบวิชาชีพจึงตองมี ความรับผิดชอบตอสังคมในระดับที่สูงเชนกัน  ยิ่งสังคมยกยองเคารพและไววางใจผูประกอบ วิชาชีพครูมากเทาใดผูประกอยวิชาชีพครูก็ตองประพฤติปฏิบัติตนใหเหมาะสมกับความเคารพ เชื่อถือไววางใจเพียงนั้น  การกําหนดจรรยาบรรณครูหรือจรรยาบรรณวิชาชีพครู  จึงเปนมาตรการ หนึ่งที่ใชควบคุมความประพฤติปฏิบัติตนของผูประกอบวิชาชีพครู  อาจกลาวไดวาเปนการประกัน คุณภาพของครูใหกับสังคมประการหนึ่งดวยเปนการยืนยันกับสังคมวาในวงการครูนั้น  ครูจะ ควบคุมสอดสองดูแลความประพฤติของกลุมครูดวยกันตลอดเวลา  มีการลงโทษทั้งทางกฎหมาย และทางสังคม  การควบคุมความประพฤติหรือการปฏิบัติตนของครูนั้น  วิธีการที่ดีที่สุดคือการสราง จิตสํานึกหรือการควบคุมทางจิตใจ  ครูที่มีคุณธรรมจริยธรรมสูงดวยยอมเปนครูที่มีจรรยาบรรณ เปนมาตรวัดมาตรฐานความเปนครูของผูประกอบวิชาชีพครูที่สําคัญยิ่ง  ครูที่มีคุณธรรมยอมเปนครู ที่มีจรรยาบรรณที่ดีนั่นเอง
1.  ความหมายของคุณธรรม  จริยธรรม    คําวาคุณธรรมและจริยธรรมนั้นเปนคําที่มีความหมายใกลเคียงกันทั้งในวงการการศึกษา  สังคมวิทยา  ปรัชญาและศาสนาทั่ว ๆ ไป  อยางไรก็ดี  ความหมายของคุณธรรมนั้นมักจะใชใน ลักษณะที่ครอบคลุมความหมายของจริยธรรมดวย  ทั้งในศัพทภาษาไทยและภาษาอังกฤษ  กลาวคือ  จริยธรรมเปนการแสดงออกใหผูอื่นเห็นคุณธรรมที่มีอยูภายในจิตใจของแตละบุคคลนั่นเอง   ความหมายของคุณธรรม (morality)  คุณธรรม  ตามรูปศัพทแปลวา  สภาพของคุณงามความดี  ซึ่งพระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต. 2538 : 34)  อธิบายความหมายไววา  คุณธรรมคือ  ธรรมที่เปนคุณ  ความดีงาม  สภาพที่เกื้อกูล  พระเทพวิสุทธิเมธี  (พุทธทาสภิกขุ. 2529 : 90)  อธิบายวาคุณธรรมหมายถึง  คุณสมบัติ ฝายดี  เปนที่ตั้ง  หรือประโยชนแกสันติภาพหรือสันติสุข  คุณธรรมเปนสวนที่ตองอบรมโดยเฉพาะ  หรือใหเกิดขึ้นอยางเหมาะสมกับที่ตองการ  คุณธรรมตามแนวคิดในวงการการศึกษาตะวันตกนั้น  มีลักษณะเปนสหวิทยากร  (interdisciplines) คือ  เปนแนวคิดทั้งในลักษณะวิชาปรัชญา  จิตวิทยา  สังคมวิทยาและการศึกษา
 
       แนวความคิดของนักวิชาการตะวันตกคอนขางหลากหลายและมีพื้นฐานของศาสตรในการศึกษาที่ แตกตางกันอยาคอนขางชัดเจน  พจนานุกรม  Collin  Cobuild (1987 : 937)  อธิบายวาคุณธรรมมีความหมาย  2  นัย  คือ
 1.  โดยนัยที่เปนภาวะทางจิตใจ (idea) นั้น  คุณธรรมแปลวา  ความคิดที่วาบางพฤติกรรม เปนสิ่งที่ถูกตองที่ควรทําและเปนที่ยอมรับ  และบางพฤติกรรมเปนสิ่งที่ผิดหรือเลว  ทั้งนี้เปนไปทั้ง โดยความคิดเห็นของแตละบุคคลและของสังคม  นอกจากนี้คุณธรรมยังเปนคุณภาพหรือสถานะใน การดําเนินชีวิตอยางถูกตอง  ควรทําและยอมรับได
2.  คุณธรรมเปนระบบของลักษณะการประพฤติและคุณคาที่เกี่ยวพันกับพฤติกรรมของคน สวนใหญซึ่งโดยทั่วไปแลวเปนที่ยอมรับกันในสังคมหรือเฉพาะในกลุมคน   ความหมายของจริยธรรม (ethics)  จริย  แปลวา  กิริยา  ความประพฤติ  การปฏิบัติ  ฉะนั้นจริยธรรมจึงหมายถึงแนวทางการ ประพฤติปฏิบัติสําหรับมนุษยเพื่อใหบรรลุถึงสภาพชีวิตที่พึงประสงค  พระราชวรมุณี  (ประยูร  ธมฺมจิตโต.  2541 : 11)  อธิบาย  จริยธรรมเปนเรื่องของการ ประพฤติตามหลักตามระเบียบที่วัดได  ประเมินได  ในทางพฤติกรรมที่แสดงออกมาทางกายกับ วาจาและเปนหลักทั่ว ๆ ไป  ของทุกคน  มาจากหลายแหลงไมวาศาสนา  กฎหมาย  วัฒนธรรม  ประเพณี อะไรที่ควรทําเปนจริยธรรมทั้งสิ้น

พระเทพวิสุทธิเมธี  (พุทธทาสภิกขุ. 2529 : 215)  อธิบายวาจริยธรรมหมายถึง  ตัวของกฎที่ ตองปฏิบัติ  สวนจริยศาสตร  คือเหตุผลสําหรับใชอธิบายขอกฎที่จะตองปฏิบัติ  มีลักษณะเปน ปรัชญา  และเมื่อรวมทั้งสองสวนเขาดวยกันจะเรียกวาจริยศึกษา

ซามุเอล  สตัมพ  (Stumpf. 1977 : 3)  อธิบายความหมายของจริยธรรมในเชิงวิชาปรัชญาวา  จริยธรรมเปนความประพฤติปฏิบัติเกี่ยวของกับสิ่งที่เรียกกันวาถูกหรือผิด  ดีหรือเลว  พึงประสงค หรือไมพึงประสงค  มีคุณคาหรือไรคา  นอกจากนี้จริยธรรมยังเกี่ยวของกับความรับผิดชอบ  หนาที่  พฤติกรรมที่ยอมรับนับถือตาง ๆ ของแตละบุคคลอีกดวย  อยางไรก็ดี  สตัมพ  อธิบายวาในเรื่อง ทฤษฎีจริยธรรมของลัทธิปรัชญานั้น  จะไมใชตอบคําถามวาจริยธรรมใดดีกวาหรือถูกตองกวา

แคน  คอสทเลย  และราลฟ  ทอดด  (Costiey  and  Todd. 1983 : 504) อธิบายวา  จริยธรรม (ethics)  เปนสาระที่เกี่ยวของกับความถูกและผิดของความดีกับความชั่ว  คําวา  ethics  เปนภาษา กรีกโบราณ  แปลวา  คุณลักษณะ (character) ในภาษาโรมันจะหมายถึง  ธรรมเนียมประเพณี (costoms) ซึ่งการเรียนรูจากภูมิปญญาดั้งเดิมนั้นก็คือ  คุณลักษณะมักจะเปนสิ่งที่ถูกกําหนดโดย ธรรมเนียมประเพณีของกลุมบุคคลซึ่งแตละคนอาศัยหรือทํางานอยูรวมกันดวย  ฉะนั้นอาจกลาวไดวา  จริยธรรม  คือ  ขอประพฤติปฏิบัติ  หรือกฎที่ควรปฏิบัติในทางที่ดีที่ ควรกระทํา  เพื่อใหเกิดสิ่งที่ดีหรือมีสันติสุขในสังคม  ในการเทศนาสั่งสอนของพระสงฆในศาสนา

พุทธนั้นมีสองแบบคือ  เทศนาธรรม  หมายถึงการบอกหรืออธิบายขอธรรมตาง ๆ  วาคืออะไร  เปน อยางไร  มีประโยชนหรือเปาประสงคอะไร  สวนเทศนาจริยะ คือ การอบรมและอธิบายสิ่งที่พึง กระทํา  หรือบอกถึงการประพฤติปฏิบัติในทางที่ดีใหแกสาธุชนทั้งหลายนั่นเอง  คุณธรรมกับจริยธรรมเปนเรื่องที่เกี่ยวพันกัน  อาจกลาวไดวา  คุณธรรมเปนธรรมฝายดีที่อยู ภายในจิตใจของบุคคล  การแสดงออกของคุณธรรมใหประจักษนั้นเรียกวาจริยธรรม  สวนคําวาจรยิ ศาสตรคือเหตุผลที่อธิบายสําหรับขอหรือกฎที่ตองปฏิบัติเปนหลักเกณฑทางวิชาปรัชญาที่เกี่ยวกับ สวนที่เรียกวาจริยธรรม

2.  ความสําคัญของคุณธรรม  จริยธรรม   เนื่องจากคุณธรรมเปนสภาพของความดี  ลักษณะของความดีงาม  หรือธรรมชาติของความดี ที่อยูภายในจิตใจของบุคคล  สวนการกระทําดีหรือพฤติกรรมดี ๆ ที่บุคคลไดกระทํานั้นเกิดจากการ นําหลักในการดําเนินชีวิตอยางประเสริฐหรือหลักการประพฤติปฏิบัติที่ดีงามไปปฏิบัติซึ่งเปนเร ื่อง ของจริยธรรม  ดวยเหตุนี้คุณธรรมและจริยธรรมจึงเปนของคูกัน  กลาวคือ  เมื่อบุคคลมีจิตวิญญาณ ที่เปยมไปดวยคุณความดี  ยอมจะกระทําแตสิ่งที่ดีมีประโยชนทั้งสิ้น  อยางไรก็ตามหากบุคคลใดมี แตความคิดดี ๆ  แตไรการกระทําดียอมไมกอใหเกิดประโยชนแกตนเองและ/หรือผูอื่นแตประการใด  แตก็ยังมีประโยชนอยูบาง  เพราะมิไดสรางความสับสนวุนวายหรือความเดือดรอนหรือเปน อันตรายตอผูใด  บุคคลจะมีความสุขความเจริญทั้งในชีวิตสวนตัวและชีวิตการทําธุรกิจการงานใด ๆ จะตอง ประกอบดวย  “การคิดดี  การพูดดี  และการกระทําดี”  การคิดดี  หมายถึง  คิดแตสิ่งที่เปนคุณ             เปนประโยชน  ไมคิดในเรื่องที่ทําใหจิตใจตองเศราหมองเสื่อมโทรม  ตกต่ํา  พูดอยางรวม ๆ ก็คือ  ตองไมโลภ  ไมโกรธ  และไมหลงงมงาย  สวนการพูดดี  หมายถึง  การมีวาจาสุภาษิต  เชน                 พูดความจริง  ไมพูดสอเสียด  ไมพูดคําหยาบ  ไมพูดเพอเจอ  พูดดวยความเมตตา  พูดแตสิ่งที่เปน ประโยชน  พูดใหกําลังใจ  ใชถอยคําออนหวานจับใจ  เปนตน  สําหรับการกระทําดีนั้นใหเนนไปที่ พฤติกรรมทางภายในทางที่ดีที่เปนประโยชนทั้งแกตนเองและ/หรือผูอื่น  หลีกเลี่ยงการเบียดเบียน ผูอื่นทางกาย  ไมยึดถือเอาสิ่งของที่ผูอื่นไมอนุญาตมาเปนของตน  และไมประพฤติผิดทางประเวณี  เปนตน  การกระทําความดีทั้งสามดานดังกลาวจะเกิดขึ้นไดตองเกี่ยวเนื่องกับคุณธรรมทั้งสิ้น  คุณธรรม  จริยธรรม  รวมทั้งศีลธรรมมีความจําเปนตอการดํารงชีวิตของบุคคลและสังคม เปนอยางยิ่ง  ดังที่พระพรหมคุณาภรณ  (ป.อ. ปยุตฺโต)  เมื่อครั้งยังดํารงสมณศักดิ์เปนพระเทพเวที  (2533 : 3-4)  ไดกลาวไววา  “น้ําและอากาศเปนสิ่งที่มีอยูทั่ว ๆ เปนสิ่งจําเปนตอชีวิต  เพราะวาถา ขาดน้ําเพียงวันเดียวคนก็แทบตาย  ยิ่งขาดอากาศประเดี๋ยวเดียวก็อาจจะตายหรือไมก็เปนอัมพาตไป  จริยธรรมหลอเลี้ยงชีวิตมนุษยและสังคมของเราอยูโดยไมรูตัว  แตก็มีความแตกตางกันอยูอยาง
 191 หนึ่งระหวางน้ําและอากาศกับศาสนาและจริยธรรม  คือ  น้ําและอากาศนั้น  คนขาดไปแลวก็รูตัวเอง วาตัวเองขาดอะไรและตองการอะไร  แตศาสนาและจริยธรรมนั้นมีลักษณะประณีตและเปน นามธรรมมาก  จนกระทั่งแมวาคนจะขาดสิ่งเหลานี้จนถึงขั้นมีปญหาเกิดขึ้นแลวก็ยังไมรูวาขาด อะไรซึ่งเปนปญหาที่ตองสรางความเขาใจชี้แจงอยางตอเนื่องใหตระหนักเห็นคุณคาและ ความสําคัญ”


     การพัฒนาคุณธรรมของครูจะประสบความสําเร็จไดนั้น  ครูทุกคนจะตองมีความรูความเขาใจ อยางถูกตองถองแทตั้งแตความหมายของคุณธรรม  กลาวคือ  จะตองเขาใจวาคุณธรรมนั้นเปนลักษณะ ของความดี  สภาพของความดี  หรือธรรมชาติของความดีที่มีอยูในจิตใจของบุคคลซึ่งทําใหบุคคล กระทําความดีตาง ๆ ออกมาใหผูอื่นเห็น  เปนการแสดงออกถึงมีจรรยาบรรณดวยความหมายของ คุณธรรม  จึงใชในลักษณะที่ครอบคลุมความหมายของจริยธรรมดวย  ผูที่มีคุณธรรมจริยธรรมจะ บังเกิดความเจริญกาวหนาอยางรวดเร็ว  ครอบครัวมีความสุข  สังคมและประเทศชาติไดรับการพัฒนา อยางรวดเร็ว  สําหรับหลักคุณธรรมที่จําเปนสําหรับผูประกอบวิชาชีพครูนั้นมีมากมาย  เชน  เบญจศีล          กัลยาณมิตตธรรม  ธรรมเทศธรรม  5  อิทธิบาท  4  พรหมวิหาร  4  สังคหวัตถุ  4  เปนตน    การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมใหมีอยูในตนเองอยูเสมอยอมเปนผูที่ปฏิบัติตามจรรยาบรรณได อยางดียิ่ง  ครูสามารถกระทําไดหลายแนวทาง  เชน  การพัฒนาโดยสถาบันผลิตครู  การพัฒนาโดย หนวยงานที่ใชครู  การพัฒนาโดยองคกรวิชาชีพครู  การพัฒนาโดยสถาบันทางสังคมตาง ๆ  และที่ สําคัญ  คือการพัฒนาดวยตัวครูเอง

ครูพันธ์ใหม่     

รางวัลของครู




 ร้อยใจมากราบครู




ครูกระดาษทราย





อ้าลอิง
1. www.ska1edu.org/dta/5691มาตรฐานวิชาชีพnew
2. https://sites.google.com/site/krutubtib/khru/khwam-sakhay-khxng-khru (29/08//2557) 3
3. http://aoysireeras.blogspot.com/2012/05/blog-post_26.html (29/08//2557)
4. http://www.gotoknow.org/posts/201534 (29/08//2557)
ค้นคว้าเมื่อวันที่ 16 กันยายน 2558  เวลา 20.34 น.

1 ความคิดเห็น:

  1. ภาพพื้นหลังน่ารักดี แต่ตัวอักษรในเนื่อหาตัวเล็กทำให้อ่านยาก และมีบางสีของตัวอักษรที่ทำให้อ่านยาก

    ตอบลบ